Everything about วิกฤตการณ์อาหารโลก

ประชาไท / ข่าว / เศรษฐกิจ / สังคม / คุณภาพชีวิต

สรุปแล้ว คำตอบของคำถามที่เราตั้งไว้ก็คือ ในระยะสั้นนี้ ประเทศไทยไม่มีปัญหาด้านผลผลิต-ความเพียงพอของอาหารที่จะบริโภคในประเทศแน่นอน แต่การบริโภคเพียงพอต่อความต้องการตามหลักโภชนาการหรือไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งนั่นก็เป็นความท้าทายที่ไทยจะต้องแก้ปัญหาต่อไป

คาดว่าวิกฤตอาหารโลกจะรุนแรงกว่ายาวนานกว่าวิกฤติพลังงาน และมีความเชื่อมโยงกัน ส่งผลกระทบต่อประชากรโลกระดับหลายพันล้านคน แม้นสงครามของระบอบปูตินยุติลงปลายปีนี้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภาวะโลกร้อนเป็นเรื่องระยะยาว ภัยแล้ง และ อุทกภัยครั้งใหญ่จะทำลายพื้นที่ทางการเกษตรเป็นระยะๆ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางด้านอาหารจึงมีความสำคัญมากต่อหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศนำเข้าอาหารและสินค้าเกษตร แม้นประเทศไทยเป็นประเทศส่งออกอาหารแต่ก็ไม่ควรประมาท ควรมียุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารไว้ด้วย นอกเหนือจากการมุ่งสู่การเป็น “ครัวของโลก”  

ค้นหากฎหมาย ประกาศ ระเบียบ และหนังสือเวียนที่ ธปท. ใช้ในการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ รวมถึงกฎหมายที่ ธปท.

“วิกฤตอาหารโลก” ผลพวงจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน

แต่การปรับโครงสร้างภาคเกษตรกรรมโลกเพื่อผลประโยชน์ของบรรษัทธุรกิจเกษตรยักษ์ใหญ่ไม่ได้ยุติแค่นั้น ในช่วงเวลาเดียวกัน กลุ่มประเทศซีกโลกใต้ก็ถูกโน้มน้าว ชักจูงและข่มขู่ให้หันมาใช้นโยบายเกษตรกรรมที่ส่งเสริมการเพาะปลูกเพื่อการส่งออกแทนที่การผลิตอาหารบริโภคในประเทศ รวมทั้งสนับสนุนอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ที่เพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว ผลาญน้ำอย่างไม่บันยะบันยัง ทั้งยังใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงอย่างหนัก วิถีเกษตรกรรมดั้งเดิมที่เคยดำเนินไปโดยชุมชนและเพื่อชุมชน ถูกเบียดขับออกไปและแทนที่ด้วยระบบอุตสาหกรรมเกษตรที่ดำเนินโดยและเพื่อธุรกิจเกษตร

นำเทคโนโลยีและข้อมูลมาใช้พัฒนานวัตกรรมและบริการทางการเงิน

"ไม่มีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ครั้งไหน ไม่มีสงครามที่ไหนในโลก ที่ประชาชนจำนวนมากต้องเสียชีวิตทุก ๆ นาที ทุกๆ ชั่วโมงและทุกๆ วัน มากเท่ากับประชาชนที่ต้องตายเพราะความหิวโหยและความยากจนบนโลกของเรา"

คนไทยเราคงรับรู้ได้แล้วในตอนนี้แล้วจากราคาสินค้าอุปโภคบริโภครอบตัวที่ปรับสูงขึ้น แต่รายรับเราเท่าเดิมและเราก็ไม่อาจคาดเดาได้ว่าวิกฤตนี้จะยาวนานไปถึงไหน รัฐจะจัดการอย่างไร และในอนาคตเราจะยังสามารถมีการเกษตรที่ยั่งยืนหรืออาหารให้รับประทานเพียงพอหรือไม่

สำรองเวลาเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ วังบางขุนพรหม หรือใช้บริการของห้องสมุด จดหมายเหตุ และศูนย์การเรียนรู้ ธปท.

สงครามรัสเซีย-ยูเครน จุดชนวนผลกระทบเศรษฐกิจโลกหลายด้าน โดยเฉพาะแนวโน้ม “วิกฤติอาหารโลก” ที่เขย่าความมั่นคงทางอาหารของประชากรโลก จากการที่ทั้งสองประเทศหยุดการส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์สำคัญอย่างข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี เรพซีดออยล์ และน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อสำรองอาหารและพลังงานไว้เพื่อความมั่นคงในประเทศ ซึ่งสินค้าธัญพืชเหล่านั้นเป็นปัจจัยการผลิตสำคัญในการเลี้ยงสัตว์และผลิตอาหาร และกำลังกลายเป็นกระแสผลักดันให้ประเทศผู้ผลิตอาหารออกนโยบาย วิกฤตการณ์อาหารโลก “ห้ามส่งออก” ในแบบเดียวกัน เพื่อรักษาสมดุลอาหารเพื่อเลี้ยงคนในประเทศ

ไม่สร้างภาระแก่ภาคธุรกิจและประชาชนเกินความจำเป็น และยังสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการออกกฎหมายและกฎเกณฑ์

ร้านวรรณยุคยกระดับ “ข้าวแกง” สู่ระดับโลกพร้อมคว้าดาวมิชลินสำเร็จได้อย่างไร

สยามรัฐใช้คุกกี้เพื่อเสริมประสบการณ์การใช้งาน ศึกษาเพิ่มเติม นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และ นโยบายคุกกี้

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *